Search
  • Search
  • My Storyboards

Unknown Story

Create a Storyboard
Copy this Storyboard
Unknown Story
Storyboard That

Create your own Storyboard

Try it for Free!

Create your own Storyboard

Try it for Free!

Storyboard Text

  • ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในคุณสมบัติทางเคมี ซึ่งก่อตัวขึ้นมาเป็นสารใหม่ที่เรียกว่า "ผลิตภัณฑ์"สารผลิตภัณฑ์บางตัวอาจมีคุณสมบัติทางเคมีที่ต่างจากสารตั้งต้นเพียงเล็กน้อย แต่ในขณะเดียวกันสารผลิตภัณฑ์บางตัวอาจจะแตกต่างจากสารตั้งต้นโดยสิ้นเชิง
  • กระบวนการที่เกิดจากการที่สารเคมีเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วส่งผลให้เกิดสารใหม่ขึ้นมาซึ่งมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีสารเริ่มต้นปฏิกิริยาเรียกว่า "ตัวทำปฏิกิริยา"ซึ่งจะมีเพียงตัวเดียวหรือมากกว่า 1 ตัวก็ได้ มาเกิดปฏิกิริยากัน
  • ปฏิกิริยาเคมี
  • ในการเกิดปฏิกิริยาของสารแต่ละปฏิกิริยานั้น ต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2 ขั้นตอนขั้นที่ 1 เป็นขั้นที่ดูดพลังงานเข้าไปเพื่อสลายพันธะในสารตั้งต้นขั้นที่ 2 เป็นขั้นที่คายพลังงานออกมาเมื่อมีการสร้างพันธะในผลิตภัณฑ์
  • พลังงานเคมี
  • เป็นพลังงานที่แฝงอยู่ในโครงสร้างของสาร เช่น อยู่ในรูปของน้ำมันเชื้อเพลิง ไขมัน ซึ่งเมื่อเกิดการเผาไหม้จะปล่อยพลังงานเคมีออกมา และนำมาใช้ประโยชน์ได้พลังงานเคมีเป็นพลังงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องและสำคัญกับสิ่งมีชีวิตมาก
  • 1. ปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothermic reaction)เป็นปฏิกิริยาที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะมากกว่าที่คายออกมาเพื่อสร้างพันธะ โดยในปฏิกิริยาดูดความร้อนนี้สารตั้งต้นจะมีพลังงานต่ำกว่าผลิตภัณฑ์จึงทำให้สิ่งแวดล้อมเย็นลง อุณหภูมิลดลง เมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรู้สึกเย็น
  • 2.ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic reaction)เป็นปฏิกิริยาที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะน้อยกว่าที่คายออกมา เพื่อสร้างพันธะ โดยในปฏิกิริยาคายความร้อนนี้สารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์ จึงให้พลังงานความร้อนออกมาสู่สิ่งแวดล้อมทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นเมื่อเอามือมาสัมผัสภาชนะจะรู้สึกร้อน
  • 1. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis)
  • 7. ปฏิกิริยาการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน
  • 2. การสันดาปหรือการเผาไหม้เชื้อเพลิง
  • ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
  • 6. ปฏิกิริยาการหายใจแบบใช้ออกซิเจน
  • 4. ปฏิกิริยาการสะเทิน
  • 3. ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก
  • 5. ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
  • การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบ่งออกเป็น 2 ประเภท1.อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย - อัตราที่เกิดคิดตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดการเกิดปฏิกิริยาเคมี จะมีได้ค่าเดียว2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลา - อัตราที่คิดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง มีได้หลายค่า แต่ละช่วงค่าที่ได้จะไม่เท่ากัน
  • อัตราการเกิดปฏิกิริยา = สารตั้งต้นที่ลดลง/เวลาที่ใช้ไป หรือ ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น/เวลาที่ใช้ไป
  • 5. ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือตัวหน่วงปฏิกิริยา
  • 2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
  • 3. พื้นที่ผิวของสาร
  • 1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น
  • ป้จจัยการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 4. อุณหภูมิ
Over 30 Million Storyboards Created