Resources
Pricing
Create a Storyboard
My Storyboards
Search
ฟิม ปิโตร
Create a Storyboard
Copy this Storyboard
PLAY SLIDESHOW
READ TO ME
CREATE A STORYBOARD!
Copy
Create your own
Storyboard
Try it for
Free!
Create your own
Storyboard
Try it for
Free!
Storyboard Text
วันนี้อาจารย์จะมาสอนเรื่อง เเหล่งกักเก็บปิโตรเลียมกันนะคะเด็กๆ
ไปเริ่มกันเลยค่า
เเหล่งกักเก็บ เป็นบริเวณที่มีหินตะกอนเนื้อเเน่นที่ไม่ยอมให้ของไหลต่างๆเคลื่อนตัวผ่านไปได้
ดังนั้น การจะพิจารณาถึงความสามารถของเเหล่งกักเก็บปิโตรเลียมนั้นมีหลักการในการพิจารณา ดังนี้
2) หินกักเก็บ เนื้อของหินจะต้องมีรูพรุนมีรอยเเตกในเนื้อหินเพียงพอที่จะยอมให้ปิโตรเลียมเคลื่อนตัวผ่านไปได้ ยังกักเก็บตามช่องว่างเล็กๆระหว่างอนุภาคของหินหรือรอยเเตกในเนื้อหิน
1) หินต้นกำเนิด เป็นหินตะกอนที่เกิดจากการทับถมกันของซากสิ่งมีชีวิตของหินจะประกอบด้วยสารอินทรีย์จำนวนมากจะมีผลต่อการให้ปิโตรเลียมออกมา
3) หินปิดกั้น เป็นหินที่ไม่ยอมให้สารละลายไหลผ่านได้หรือไหลผ่านได้น้อย เพื่อป้องกันไม่ให้ปิโตรเลียมเคลื่อนตัวผ่านออกไป หินปิดกั้นนี้จะต้องมีเนื้อละเอียดส่วนมากจะเป็นหินดินดาน
4) หินปิดทับ เป็นชั้นหินอื่นๆที่ปกคลุมปิดทับชั้นหินปิดกั้น เพื่อป้องกันไม่ให้ปิโตรเลียม เคลื่อนย้ายออกไปสู่พื้นผิวโลกหรือหลุดรอดออกไปจากชั้นหินปิดกั้น
1) โครงสร้างรูปโค้งประทุนคว่ำ โครงสร้างนี้ถือว่ามีประสิทธิภาพดีที่สุดในการกักเก็บ2) โครงสร้างรูปรอยเลื่อนของชั้นหิน พบในประเทศไทย เกิดจากการหักงอ3) โครงสร้างรูปโดม ชั้นหินถูกดันให้โก่งด้วยชั้นเกลือ
ส่วนเเหล่งกักเก็บปิโตรเลียมที่เกิดจากโครงสร้างทางธรณีวิทยาเกิดการเปลี่ยนรูปของชั้นหิน เช่นการพับ การเเตกหรือทั้งสองอย่างเกิดขึ้นกับหินกักเก็บปิโตรเลียมเเละหินปิดกั้นปิโตรเลียมที่สะสมน้ำมันไว้
เเหล่งกักเก็บปิโตรเลียมเเบบเนื้อหินเปลี่ยนเเปลง เกิดจากการเปลี่ยนชนิดของหินหรือลำดับชั้นหินหรือเกิดรอยชั้นไม่ต่อเนื่อง
วันนี้อาจารย์ขอจบลงเเค่นี้นะคะอย่าลืมกลับไปทบทวนด้วยนะเดี๋ยวเราจะมีเเบบทดสอบกัน
Over 30 Million
Storyboards Created